วันศุกร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2551

สิ่งที่ได้รับจากวิชาเตรียมฝึก



ผมคิดว่าตอนเเรกวิชาเตรียมฝึกทำไมต้องเรียนด้วยน้าเรียนไปเเล้วจะได้อะไร เเละการเป็นระเบียบการเเต่งกายต้องเรียบร้อยด้วยล่ะ ! เเต่พอเริ่มได้เรียนเตรียมฝึกก็ได้รู้ว่าเราจะเรียนไปเพื่อที่จะได้รับรู้เกี่ยวกับวิชาชีพว่าเราจบไปเเล้วต้องไปทำงานเราต้องทำตัวยังไงบ้างเเละสอนห้รู้จักปรับปรุงเเก้ไขตัวเองเพื่อนที่จะไปสู่การทำงานในอนาคต เเละได้รับรู้สิ่งใหม่ๆเเละได้ความสมัคคีในกลุ่มเพื่อนๆได้ออกสู่โลกที่กว้างขวางที่ไม่เคยเห็นมาก่อน สุกท้ายนี้ก็อยากบอกว่า (เตรียมเป็นอะไรที่ดีมากมายเลยครับ)

บทความที่ชอบ



บทความเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย ปัจจุบันพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตามตามยุคสมัย ซึ่งมีการนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์มากมายทั่วโลก แต่ถ้าหากนำไปใช้ในทางมิชอบ ก็อาจก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง ซึ่งอาจประเมินค่ามิได้ หรือส่งผลกระทบที่ร้ายแรงแก่ประชาคมโลก และได้เกิดรูปแบบใหม่ ของอาชญากรรมที่เกิดจากการใช้งานคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด หลายด้านเช่น หยุดการทำงาน (Interruption) ลักลอบข้อมูล (Interception) แก้ไขข้อมูล (Modification) และ สร้างข้อมูลปลอม (Fabrication) บนระบบเครือข่าย และการปล่อยไวรัสเข้าสู่ระบบ รวมไปถึง การสร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น ไม่ว่าทางใดก็ตาม เป็นต้น จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนา “กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law)” หรือที่บางประเทศเรียกว่า “กฎหมายเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ในทางมิชอบ (Computer Misuse Law)” ขึ้น หรือต้องมีการปรับแก้ประมวลกฎหมายอาญา ที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันให้ทันสมัย เข้ากับการกำหนดฐานความผิด และบทลงโทษสำหรับการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ หรือการใช้คอมพิวเตอร์ในทางมิชอบขึ้น ให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยประเทศต่างๆ ที่พัฒนาและออกกฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรม ทางคอมพิวเตอร์ขึ้นใช้บังคับแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุ่น สิงค์โปร มาเลเซีย และ Council of Europe ได้ออก Convention on Cyber-Crime เพื่อเป็นแนวทางให้ประเทศต่างๆใช้กฎหมายบังคับในทิศทางเดียวกัน ส่วนสำหรับในประเทศไทย กำลังอยู่ระหว่างการพัฒนาร่างกฎหมายขึ้น เพื่อใช้บังคับ โดยสืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2539 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบต่อ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (ไอที 2000) เพื่อพัฒนาสังคม และเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ทางด้านธุรกิจอุตสาหกรรม และการค้าระหว่างประเทศ ในการก้าวเข้าสู่ ยุคเศรษฐกิจใหม่ แห่งศตวรรษที่ 21 โดยหนึ่งในมาตรการสำคัญ ของนโยบายดังกล่าว คือ การปฏิรูปกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อมาเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ ให้คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ดำเนินโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เสนอโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และให้คณะกรรม-การฯ เป็นศูนย์กลางดำเนินการ และประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่กำลังดำเนินการจัดทำ กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องโดยมีศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ ทำหน้าที่เป็น เลขานุการคณะกรรมการฯ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ในฐานะสำนักงานเลขานุการคณะกรรมการ เทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ได้ดำเนินโครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วยกฎหมาย 6 ฉบับ ได้แก่ กฎหมายเกี่ยวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (เดิมเรียกว่า “กฎหมายแลกเปลี่ยน ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์”) กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ต่อมาได้มีการรวมหลักการเข้ากับกฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และรวมเรียกชื่อเดียวว่า “กฎหมายว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์”) กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและ เท่าเทียมกัน (เดิมเรียกว่า “กฎหมายลำดับรองของรัฐธรรมนูญ มาตรา 78”) กฎหมายเกี่ยวกับการ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ และกฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงิน ทางอิเล็กทรอนิกส์ อนึ่ง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หลัก ในการดำเนินงานของโครงการ พัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการยกร่าง กฎหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศทั้ง 6 ฉบับข้างต้น คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ จึงได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ เฉพาะกิจขึ้นมา 6 ชุด ประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจาก สาขานิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ การเงินการธนาคาร และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ใน การพิจารณายกร่างกฎหมายโดยมี ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ เป็นเลขานุการในการยกร่างกฎหมาย สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมของกฎหมายเทคโนโลยีในประเทศไทยได้ที่ http://www.ictlaw.thaigov.net บทความโดย อ.นรินทร์ พนาวาส ผู้อำนวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.ศรีปทุม (13/01/2548)

วันพฤหัสบดีที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2551

~ประวัติของของข้าพเจ้า~


ชื่อเต็มๆ: นายยอดพิชิต นามสกุล ใหญ่มีศักดิ์
ชื่อเล่น: จั๊มพ์
อายุ : 21 ปี
วุฒิการศึกษา : จบการศีกษามัธยมปีที่ 6 ต. ตาคลี จ. นครสวรรค์ รร. ทหารอากาศอนุสรณ์
สายการศึกษา : เรียนสาย วิท-คณิต
จบได้เกรดเฉลี่ย 2.75 อาจาร์ยปล่อยเกรด^.^
*การร่วมกิจกรรม ปี1 ช่อใหม่*
-อยู่สเเตนเชียร์
-วิ่งเฉลิมพระเกียรติ *วันพ่อ*
งานอดิเรก : นอนอยู่บ้าน อ่านหนังสือการ์ตูน เล่นคอม
ความใฝ่ฝัน : อยากเป็นGM คอยดูเเลเกมต่างๆ
เเนวเพลงที่ชอบ : เเนวร๊อกๆ เเนวเพลงการ์ตูน
หนังสือที่ชอบ : หนังสือการ์ตูนเนกิมะ
เเนวการ์ตูนที่ชอบ : เเนวการ์ตูนเวทมนต์


30 /07 51



การฝึกทักษะภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศActive
มีการพูดคุย (Conversation)
และการเขียนPassive
มีการอ่าน (Reading) และการฟังได้มีการพูดถึง
การสร้าง BlogSocial Network เครือข่ายร่วมมือManagement Frame Work
- R&D การวิจัยและการพัฒนา
- Planning การวางแผน- QA การประกันคุณภาพ
- Risk Management
- KM การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
- Sharing Shin Sure SafeExplicit Knowledge (Blog)
-Blog มาจากคำศัพท์คำว่า Weblog คำว่า WeBlog หรือ Web log
-Blog คือการบันทึกบทความของตนเองลงบน Website โดยเนื้อหาของฺ

13 /08 /51




การพัฒนาบุคลิกภาพ
คุณลักษณะของนักศึกษา
1. บุคลิกดี 2. มีน้ำใจ 3. เชิดชูองค์กร 4. สมานสามัคคี
คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
1. บุคลิกภาพและกิริยามารยาท 2. มีความรู้ข้อมูลด้านสารสนเทศ 3. วัฒนธรรมการเข้าสังคมและมนุษย์สัมพันธ์
4. ภาษาอังกฤษ 5. ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้อง 6. ความฉลาดทางอารมณ์
ความหมายของบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ คือ ลักษณะพิเศษเฉพาะของแต่ละบุคคล อันทำไห้บุคคลนัน้แต่ต่างจากบุคคลอื่นๆและบุคลิกภาพนั้นสามารถปรับปรงพัฒนาให้ดีขึ้นได้
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ
- วัฒนธรรมกับสิ่งแวดล้อม - สถานะทางเศรษฐกิจสังคม - แบบแผนสถาบัน ชุมชนสังคม
- ค่านิยม - สุขภาจิต - สุขภาพจิต - ความต้องการ
องค์ประกอบของบุคลิกภาพ
-ลักษณะทางกาย - ลักษณะทางอารมณ์ - สติปัญา - สังคม
การปรับปรุงบุคลิกภาพภายนอก
- รูปร่างหน้าตา - การแต่งกาย - กิริยาท่าทาง - การติดต่อสื่อสาร - การพูด – การฟัง

วันจันทร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2551

6 สิงหาคม 51




ได้รับการเรียนการสอน *การบริหารการเงิน*

หัวข้อบรรยาย
ทำไมต้องออม - ทำไมต้องลงทุน – เส้นทางสู่ความมั่งคง – การเลิกลงทุน – อายุเฉลี่ยคนไทย - เงินออมมาจากไหน
เงินออมมาจากไหน
รายได้ – รายจ่าย = เงิมออม
ทำอย่างไรถึงจะได้เงินออม
รายได้ รายจ่าย เงินออม
เพิ่มรายได้
-ตั้งเป้าหมาย ประเมินตัวเอง
- รักในงาน คุณจะรักในงาน คุณต้องพอใจในงานนั้นๆ
- เปิดโอกาส / หาโอกาสให้ตนเองเสมอ
- ลดรายจ่าย
-Tips
- ชื้อของราคาแพลงแต่ลดราคา
- ของฟุ่มเฟือยอย่าชื้อทันที
- ใช้บัตรเครดิตให้เป็น
- รู้จักค่าของเงิน
แผนสู่ความมั่งคง
- วางแผนชีวิต – วางแผนการเงิน – จัดสรรการลงทุน – เป้าหมายการชีวิต